Ubuntu version Linux
Red Hat Linux==>เรดแฮ็ท เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มโปรแกรมเมอร์ ในแถบนอร์ธ-แคโลไลนาในสหรัฐอเมริกา โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างดิสตริบิวชั่นของ Linux ที่มีการติดตั้งและการใช้งานให้ง่ายที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แนวคิดพื้นฐานของเรดแฮ็ทคือเรื่องของ แพ็กเกจ (package) ซึ่งเป็นชุดของโปรแกรม ที่สามารถทำการติดตั้งเพิ่มเข้าและถอดออกได้ โดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องทำการคอมไพล์โปรแกรมใหม่ หรือไม่ต้องทราบรายละเอียดแต่อย่างใด (โดยปกติแล้วการติดตั้งซอฟต์แวร์ในระบบ UNIX และ Linux จะต้องขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดไว้ออกมาก่อน แล้วคอมไพล์ตัวโปรแกรม Linux ใหม่พร้อมกับโปรแกรมเหล่านั้น จึงจะสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์นั้น เพิ่มลงไปในระบบได้)ดังนั้น Red Hat จึงได้พัฒนาโปรแกรม RPM (RPM Package Manager) ขึ้นมาสำหรับติดตั้ง ถอดถอน และบริหารชุดของแพ็กเกจดังกล่าว โดยไม่ต้องเสียเวลาคอมไพล์ใหม่ (ซึ่ง RPM ในเวอร์ชันแรกๆจะพัฒนาด้วยภาษา Perl แต่ในเวอร์ชันต่อๆมาจะพัฒนาด้วยภาษา C ทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) และนอกจาก RPM แล้วทางบริษัท Red Hat ก็ยังได้พัฒนาโปรแกรมติดตั้งที่เรียกว่า GLINT (Graphical Linux INstallation Tool) ซึ่งมีลักษณะการใช้งานเป็นแบบกราฟิกขึ้น จึงทำให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้นกว่าเดิมมากRed Hat Linux เวอร์ชันแรกได้ออกจำหน่ายเมื่อช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1994 และด้วยคุณสมบัติเด่นของ RPM จึงส่งผลให้ Red Hat Linux ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นดิสตริบิวชั่นที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับการใช้งานในเชิงธุรกิจ ขณะที่ RPM ก็ได้รับการยอมรับ และนำไปใช้เป็นเครื่องมือมาตรฐาน ในการบริหารแพ็กเกจบนระบบ UNIX อื่นๆนอกเหนือจาก Linux ด้วย
Suse==>SuSE เป็นลีนุกซ์สัญชาติเยอรมัน ได้รับความนิยมเป็นอันดับหนึ่งในเยอรมันและยุโรปการติดตั้ง SuSE นั้น มีโปรแกรมที่จัดการการติดตั้งชื่อ YaST2 ซึ่งทำให้การติดตั้งได้ง่ายมากภาษาในการติดตั้งยังไม่มีภาษาไทย
Debian==>Debian นั้นเริ่มเมื่อปี 1993 โดยนายเอียน เมอร์ดอค คำว่า Debian ก็มาจากชื่อของเค้า เอียน ( -ian ) กับชื่อแฟนของเค้า เด็บบาร่า (deb-) เอามารวมกันก็เป็น Debian นี่ถือได้ว่าเป็นลินุกซ์สำหรับแฮคเกอร์โดยแท้จริง Debian มีจุดแข็งอยู่ตรงระบบการลงโปรแกรมที่เรียกได้ว่าดีมากๆ เรียกว่า APT ที่ใช้งานได้ง่ายกว่า RPM ของเรดแฮทมาก และจะสะดวกมากขึ้นอีกถ้าเรามีเน็ตแรงๆ อยู่ด้วย เนื่องจากว่า APT จะทำการอัพเดทโปรแกรมให้เราอัตโนมัติ เช่น ต้องการลง Mozilla แค่สั่ง apt-get mozilla แล้วก็รออย่างเดียว Mozilla ก็จะพร้อมใช้งานทันที แต่ว่าส่วนอื่นๆ ของ Debian ยังไม่เป็นมิตรกับผู้ใช้หน้าใหม่เช่นกัน เลยมีบริษัทหัวใสจำนวนมาก ได้นำ Debian ดั้งเดิมมาดัดแปลงให้เหมาะกับผู้ใช้หน้าใหม่มากขึ้น แล้วนำมาขาย เช่น Xandros และ LindowsMandrake
Linux==>Mandriva Linux เป็นลีนุกซ์ดิสโทรที่มีบุคลิกที่สุดสำอาง เริ่มพัฒนามาพร้อมๆ กับ Red Hat Linux แต่มีแนวทางเป็นของตนเอง และไม่คิดตามหลังใคร มิหนำซ้ำยังหาญกล้านำเทคโนโลยีใหม่ๆ มารวมไว้ก่อนดิสโทรอื่นเสมอๆ จนทำให้มีหมายเลขเวอร์ชั่นหนีห่างจาก Red Hat ชนิดไม่เห็นฝุ่น ความที่เน้น Cutting-Edge Technology เช่นนี้มากจนเกินไป จนลืมให้ความสำคัญกับการดำเนินกิจการจึงทำให้ขาดทุนและเกือบต้องเลิกกิจการไป หลังจากได้รับการบริจาคเงินช่วยเหลือและต่อมารวมกิจการกับ Connectiva Linux จนเป็น Mandriva Linux แล้ว ลีนุกซ์ดิสโทรนี้ก็ยังคงมีลักษณะที่เน้นการนำเสนอเทคโนโลยีล้ำหน้าคู่แข่งเสมอมาเรียนรู้เพิ่มเติม
(http://www.redhat.com/)
บริษัท
(http://www.suse.com/)
(http://www.debian.org/)โครงการ
วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์
1.คำสั่ง ls มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dosรูปแบบ $ ls [-option] [file]option ที่สำคัญl แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้างa แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directoryF แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ/ = directory* = execute file @= link fileld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)เช่น$ ls$ ls -la
2.คำสั่งcdคำสั่ง cd ใช้สำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่รูปแบบ: cd การเคลื่อนย้ายพื้นที่ในการใช้งาน ทำได้โดยใช้คำสั่ง cd ตามด้วยชื่อไดเร็คทอรี่ที่เป็นจุดหมายปลายทาง โดยจะเขียนชื่อของไดเร็คทอรี่แบบสัมบูรณ์ หรือแบบสัมพันธ์ก็ได้ เช่นตัวอย่าง: เคลื่อนไปไดเร็คทอรี่ bin ซึ่งอยู่ภายใต้ไดเร็คทอรีปัจจุบัน$ cd binตัวอย่าง: แสดงการใช้เส้นทางแบบสัมบูรณ์ระบุจุดหมายปลายทาง$ cd /rootตัวอย่าง: กลับไปยัง Home ไดเร็คทอรี่$ cdตัวอย่าง: การแสดงว่าขณะนี้เราทำงานอยู่ที่ไดเร็คทอรี่ใด$ pwd/home/train1ในตัวอย่างนี้คงจะเห็นว่า ถ้าใช้คำสั่ง cd เฉย ๆ คือการระบุให้กลับไปยังไดเร็คทอรีบ้าน อันได้แก่ ไดเร็คทอรีแรกที่เข้ามาเมื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ ซึ่งสามารถเปลี่ยนค่าของไดเร็คทอรีบ้านได้ด้วยการเปลี่ยนค่าของตัวแปรเชลล์ที่ชื่อ HOME ส่วน “..” คือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงไดเร็คทอรี “พ่อ” อันได้แก่ ชั้นที่อยู่ข้างบนชั้นปัจจุบัน
3.คำสั่ง pwd แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน$ pwdbobby@comsci:~$ pwd/home/bobby
4.คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ รูปแบบคำสั่ง file [option]... file ตัวอย่าง file /bin/sh file report1.doc
5.คำสั่ง mvใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_targetความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html
6.คำสั่ง mkdir ใช้สำหรับสร้างไดเร็คทอรี่รูปแบบ: mkdir ตัวอย่าง: การสร้างไดเร็คทอรี่ชื่อ mydir อยู่ในไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน$ mkdir mydir
7.คำสั่ง rm คำสั่งสำหรับการลบไฟล์รูปแบบ: rm [option] option คือทางเลือกที่จะใช้กับคำสั่ง rm โดยจะยกตัวอย่างที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่-r คือ การสั่งให้ลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่ (recursive)-f คือ การสั่งยืนยันการลบ (force) จะไม่ขึ้น prompt ถามยืนยันการลบfile_name คือ ชื่อไฟล์ที่ต้องการลบdirectory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง การลบมากกว่า 1 ไฟล์$ rm oldbills oldnotes badjokesตัวอย่าง การลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่$ rm -r ./binตัวอย่าง การลบแบบยืนยันการลบ$ rm –f oldbills oldnotes badjokes
8..คำสั่ง rmdirคำสั่ง rmdir เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง: การลบไดเร็คทอรี่ essays$ rmdir essays
9. Chown - คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1 chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.
10. คำสั่งChgrp คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /rootให้เป็น Group root
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
1. Ps - การดูสถานะของ Process ต่างบนระบบแสดงโปรเซสทั้งหมดรูปแบบการใช้งาน ps[option]... โดย option ที่มักใช้กันใน ps คือ -l แสดงผลลัพธ์เป็น Long Format-f แสดงผลลัพธ์เป็น Full Format-a แสดง Proces ทั้งหมดที่มี TTY ตรงกับ TTY ของผู้ใช้งาน-x แสดง Process ทั้งหมด
2. Kill - คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process) ส่งรหัสควบคุมไปยังโปรเซส รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID) ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. Fg - โดยส่วนมากใช้คำสั่ง fg เพื่อที่นำ การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ (ซึ่งก็คือเหมือนคำสั่ง Ctrl-Z ) โดยส่ง signal ให้แก่ process ว่า CONT signal
4. Bg -
5. Jobs - คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall) รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobsURL
http://itsa.skc.rmuti.ac.th/main/modules/newbb/viewtopic.php?forum=5&post_id=37&menumode=1
http://www.itdestination.com/resources/linux-command/
คำสั่งสำรองข้อมูล
1.คำสั่ง tar ทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจรูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>ตัวอย่าง tar -xvf test.tarจัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว
2.คำสั่ง gzip ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.คำสั่งgunzip คือขยายไฟล์ที่บีบไว้รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip
คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก
3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminalmesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้นรูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้นตัวอย่าง write m2k
คำสั่งอื่นๆ
1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน
4.basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที
6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k
15.groups
16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ตัวอย่าง hostname
17. lp
18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21. nohup
22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota
31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)
1.คำสั่ง ls มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dosรูปแบบ $ ls [-option] [file]option ที่สำคัญl แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้างa แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directoryF แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ/ = directory* = execute file @= link fileld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)เช่น$ ls$ ls -la
2.คำสั่งcdคำสั่ง cd ใช้สำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่รูปแบบ: cd การเคลื่อนย้ายพื้นที่ในการใช้งาน ทำได้โดยใช้คำสั่ง cd ตามด้วยชื่อไดเร็คทอรี่ที่เป็นจุดหมายปลายทาง โดยจะเขียนชื่อของไดเร็คทอรี่แบบสัมบูรณ์ หรือแบบสัมพันธ์ก็ได้ เช่นตัวอย่าง: เคลื่อนไปไดเร็คทอรี่ bin ซึ่งอยู่ภายใต้ไดเร็คทอรีปัจจุบัน$ cd binตัวอย่าง: แสดงการใช้เส้นทางแบบสัมบูรณ์ระบุจุดหมายปลายทาง$ cd /rootตัวอย่าง: กลับไปยัง Home ไดเร็คทอรี่$ cdตัวอย่าง: การแสดงว่าขณะนี้เราทำงานอยู่ที่ไดเร็คทอรี่ใด$ pwd/home/train1ในตัวอย่างนี้คงจะเห็นว่า ถ้าใช้คำสั่ง cd เฉย ๆ คือการระบุให้กลับไปยังไดเร็คทอรีบ้าน อันได้แก่ ไดเร็คทอรีแรกที่เข้ามาเมื่อเริ่มเข้าสู่ระบบ ซึ่งสามารถเปลี่ยนค่าของไดเร็คทอรีบ้านได้ด้วยการเปลี่ยนค่าของตัวแปรเชลล์ที่ชื่อ HOME ส่วน “..” คือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงไดเร็คทอรี “พ่อ” อันได้แก่ ชั้นที่อยู่ข้างบนชั้นปัจจุบัน
3.คำสั่ง pwd แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน$ pwdbobby@comsci:~$ pwd/home/bobby
4.คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ รูปแบบคำสั่ง file [option]... file ตัวอย่าง file /bin/sh file report1.doc
5.คำสั่ง mvใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_targetความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html
6.คำสั่ง mkdir ใช้สำหรับสร้างไดเร็คทอรี่รูปแบบ: mkdir ตัวอย่าง: การสร้างไดเร็คทอรี่ชื่อ mydir อยู่ในไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน$ mkdir mydir
7.คำสั่ง rm คำสั่งสำหรับการลบไฟล์รูปแบบ: rm [option] option คือทางเลือกที่จะใช้กับคำสั่ง rm โดยจะยกตัวอย่างที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่-r คือ การสั่งให้ลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่ (recursive)-f คือ การสั่งยืนยันการลบ (force) จะไม่ขึ้น prompt ถามยืนยันการลบfile_name คือ ชื่อไฟล์ที่ต้องการลบdirectory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง การลบมากกว่า 1 ไฟล์$ rm oldbills oldnotes badjokesตัวอย่าง การลบไดเร็คทอรี่และไฟล์ภายใต้ไดเร็คทอรี่$ rm -r ./binตัวอย่าง การลบแบบยืนยันการลบ$ rm –f oldbills oldnotes badjokes
8..คำสั่ง rmdirคำสั่ง rmdir เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบตัวอย่าง: การลบไดเร็คทอรี่ essays$ rmdir essays
9. Chown - คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1 chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.
10. คำสั่งChgrp คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /rootให้เป็น Group root
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
1. Ps - การดูสถานะของ Process ต่างบนระบบแสดงโปรเซสทั้งหมดรูปแบบการใช้งาน ps[option]... โดย option ที่มักใช้กันใน ps คือ -l แสดงผลลัพธ์เป็น Long Format-f แสดงผลลัพธ์เป็น Full Format-a แสดง Proces ทั้งหมดที่มี TTY ตรงกับ TTY ของผู้ใช้งาน-x แสดง Process ทั้งหมด
2. Kill - คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process) ส่งรหัสควบคุมไปยังโปรเซส รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID) ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
3. Fg - โดยส่วนมากใช้คำสั่ง fg เพื่อที่นำ การทำงานของ process ที่หยุดลงไปกลับคืนมาทำงานต่อ (ซึ่งก็คือเหมือนคำสั่ง Ctrl-Z ) โดยส่ง signal ให้แก่ process ว่า CONT signal
4. Bg -
5. Jobs - คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall) รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobsURL
http://itsa.skc.rmuti.ac.th/main/modules/newbb/viewtopic.php?forum=5&post_id=37&menumode=1
http://www.itdestination.com/resources/linux-command/
คำสั่งสำรองข้อมูล
1.คำสั่ง tar ทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจรูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>ตัวอย่าง tar -xvf test.tarจัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว
2.คำสั่ง gzip ทำหน้าที่บีบอัดไฟล์รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.คำสั่งgunzip คือขยายไฟล์ที่บีบไว้รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip
คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2. ftp คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server)ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter] Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget - รับไฟล์ ;bye - ออก
3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4. mesg mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminalmesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6. write คำสั่งใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้นรูปแบบคำสั่ง write user [tty] เมื่อมีการพิมพ์คำสั่ง write ผู้ใช้จะเห็นข้อความซึ่งจะแสดงว่าข้อความดังกล่าวถูกส่งมาโดยใคร ซึ่งหากผู้รับต้องการตอบกลับ ก็จะต้องใช้คำสั่ง write เช่นกัน เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วให้พิมพ์ตัวอักษร EOF หรือ กด CTRL+C เพื่อเป็นการ interrupt ทั้งนี้ข้อความที่พิมพ์หลังจาก write จะถูกส่งหลังจากการกด Enter เท่านั้นตัวอย่าง write m2k
คำสั่งอื่นๆ
1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน
4.basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที
6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k
15.groups
16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ตัวอย่าง hostname
17. lp
18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21. nohup
22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota
31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)
วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551
1.vmware คืออะไร
โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz - หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB - การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต - พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows - พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้ สำหรับการใช้โปรแกรมนี้ว่า โปรแกรมจะแบ่งหน่วยความจำของเครื่องหลักไปใช้ด้วย หากหน่วยความจำของเครื่องมีขนาดไม่มากเพียงพอ ก็อาจทำให้เครื่องทำงานช้าลงมาก ดังนั้นหากมีหน่วยความจำเยอะหน่อย การทำงานของโปรแกรมนี้ก็จะดีขึ้นเยอะ
- ระบบปฏิบัติการและแอปปลิเคชั่นต่าง ๆ รวมกันอยู่บนคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องและสามารถที่จะปรับปรุงโดยง่าย
- ระบบปฏิบัติการสามารถได้รับการเพิ่มหรือเปลี่ยนโดยไม่ต้องมีการซ่อมแซมพื้นที่หรือการ Reboot เครื่องใหม่
- สามารถสร้างระบบเครือข่ายที่ซับซ้อนได้และแอปปลิเคชั่นใหม่ ๆ สามารถที่จะพัฒนา, ทดสอบ ทั้งหมดในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว
2.vmware มีประโยชน์อย่างไร
ประโยชน์ของการใช้ vitual pc 2004 หรือ vmware
เดิมทีถ้าจะใช้หลาย os โดยมากจะใช้วิธีการแบ่ง partition เอาซึ่งก็ใช้งานได้แต่ว่า ไม่สามารถใช้หลาย os พร้อมกันได้แต่เมื่อได้ใช้ virtual pc 2004 แล้วเวิร์คมากๆ ก็ตรงที่
1. สามารถใช้พร้อมๆกันหลาย os
2. เมื่อต่อสาย lan กับ hub แล้วท่านมองเสมือนมีเครื่องเชื่อมต่อ เป็น network ดังนั้นท่านสามารถที่จะ search computer แล้ว แชร์โฟล์เดอร์ เพื่อก็อปปี้แฟ้มเหมือนในวง lan เลย อันนี้จะเป็นประโยชน์กับนักพัฒนาโปรแกรมได้มากๆๆๆ ยกตัวอย่างเช่น Desktop หลักใช้ winxp แล้วสร้าง virtual pc เป็น win2003 server หรือจะเป็น Linux Server ก็ได้ ท่านก็จะสามารถ ทำการทดสอบเครื่องลูกข่าย กับ เครื่อง Win2003Server ได้เลย เหมือนกับมี Server จริงๆ
3.สลับหน้าต่าง OS ได้
**หมายเหตุ ถ้าใครไม่มี hub สามารถใช้สาย lan ต่อ adsl modem ได้เลย
3.vmware หน้าตาเป็นอย่างไร

โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่ URL http://www.vmware.com แล้วเลือกที่ download และทำการดาวน์โหลด VMWare Workstation ซึ่งจะมีเวลาให้ทดลองใช้งานอยู่ที่ 30 วัน คุณสมบัติขั้นต่ำของเครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU ความเร็วไม่ต่ำกว่า 500 MHz - หน่วยความจำขั้นต่ำ 256 MB - การ์ดแสดงผลแบบ 16 บิต หรือ 32 บิต - พื้นที่ดิสก์ในการลงโปรแกรม 80 MB สำหรับเวอร์ชัน Linux และ 150 MB สำหรับ Windows - พื้นที่ดิสก์ขนาดไม่ต่ำกว่า 1 GB ต่อการลงระบบปฎิบัติการ 1 ระบบ สำหรับข้อจำกัดของการทำงานบน VMWare ก็คือ VMWare จะสร้างสภาพแวดล้อมของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ซึ่งเป็นของตัวโปรแกรม VMWare เอง ดังนั้นการใช้ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์หลักและคอมพิวเตอร์เสมือนจะไม่เหมือนกัน จึงไม่สามารถที่จะติดตั้งไดรเวอร์ของฮาร์ดแวร์จริงๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เสมือนที่ลงผ่านโปรแกรม VMWare ได้ สำหรับการใช้โปรแกรมนี้ว่า โปรแกรมจะแบ่งหน่วยความจำของเครื่องหลักไปใช้ด้วย หากหน่วยความจำของเครื่องมีขนาดไม่มากเพียงพอ ก็อาจทำให้เครื่องทำงานช้าลงมาก ดังนั้นหากมีหน่วยความจำเยอะหน่อย การทำงานของโปรแกรมนี้ก็จะดีขึ้นเยอะ
- ระบบปฏิบัติการและแอปปลิเคชั่นต่าง ๆ รวมกันอยู่บนคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องและสามารถที่จะปรับปรุงโดยง่าย
- ระบบปฏิบัติการสามารถได้รับการเพิ่มหรือเปลี่ยนโดยไม่ต้องมีการซ่อมแซมพื้นที่หรือการ Reboot เครื่องใหม่
- สามารถสร้างระบบเครือข่ายที่ซับซ้อนได้และแอปปลิเคชั่นใหม่ ๆ สามารถที่จะพัฒนา, ทดสอบ ทั้งหมดในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว
2.vmware มีประโยชน์อย่างไร
ประโยชน์ของการใช้ vitual pc 2004 หรือ vmware
เดิมทีถ้าจะใช้หลาย os โดยมากจะใช้วิธีการแบ่ง partition เอาซึ่งก็ใช้งานได้แต่ว่า ไม่สามารถใช้หลาย os พร้อมกันได้แต่เมื่อได้ใช้ virtual pc 2004 แล้วเวิร์คมากๆ ก็ตรงที่
1. สามารถใช้พร้อมๆกันหลาย os
2. เมื่อต่อสาย lan กับ hub แล้วท่านมองเสมือนมีเครื่องเชื่อมต่อ เป็น network ดังนั้นท่านสามารถที่จะ search computer แล้ว แชร์โฟล์เดอร์ เพื่อก็อปปี้แฟ้มเหมือนในวง lan เลย อันนี้จะเป็นประโยชน์กับนักพัฒนาโปรแกรมได้มากๆๆๆ ยกตัวอย่างเช่น Desktop หลักใช้ winxp แล้วสร้าง virtual pc เป็น win2003 server หรือจะเป็น Linux Server ก็ได้ ท่านก็จะสามารถ ทำการทดสอบเครื่องลูกข่าย กับ เครื่อง Win2003Server ได้เลย เหมือนกับมี Server จริงๆ
3.สลับหน้าต่าง OS ได้
**หมายเหตุ ถ้าใครไม่มี hub สามารถใช้สาย lan ต่อ adsl modem ได้เลย
3.vmware หน้าตาเป็นอย่างไร

4.webside ที่อธิบายเกี่ยวกับ vmware
www.expert2you.com/view_article.php
www.monavista.com
ความเป็นมาของระบบปฏิบัติการ UNIX
ย้อนหลังไปในช่วงทศวรรษที่ 1940 และ 1950 เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่มีในโลกอาจกล่าวได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เนื่องจากระบบปฏิบัติการของเครื่องอนุญาตให้ผู้ใช้ใช้งานเครื่องได้เพียงครั้งละคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้ที่มีความประสงค์จะใช้เครื่องต้องทำการจองเวลาใช้เครื่องไว้ล่วงหน้า เมื่อถึงเวลาที่จองไว้ผู้ใช้นั้นจะได้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นแต่เพียงผู้เดียวตลอดระยะเวลาที่จองไว้ ผู้ใช้อื่นไม่สามารถใช้งานเครื่องอีกได้ และโดยทั่วไปในระหว่างการใช้งาน ผู้ใช้ไม่ได้ใช้งานหน่วยประมวลผลกลางเต็มกำลัง เพราะอาจต้องหยุดคิดแก้ปัญหา หรือป้อนข้อมูลเข้าเครื่องซึ่งใช้ความสามารถของเครื่องน้อยมาก จึงกล่าวได้ว่าผู้ใช้งานนั้นไม่ได้ใช้เครื่องจนเต็มขีดความสามารถตลอดเวลา เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนั้นมีราคาแพงจึงเกิดแนวความคิดที่จะสร้างระบบปฏิบัติการที่ผู้ใช้สามารถใช้งานเครื่องได้เต็มกำลังตลอดเวลาโดยการให้ผู้ใช้แต่ละคนเตรียมงานไว้ล่วงหน้าโดยใช้บัตรเจาะรู เมื่อมีปริมาณของงานมากถึงระดับหนึ่งจึงจะเดินเครื่องและทำการอ่านงานเหล่านั้นเข้าไปประมวลผลต่อเนื่องกันไป ระบบปฏิบัติการเช่นนี้เรียกว่าระบบการประมวลผลแบบ batch ระบบนี้ช่วยให้ใช้งานเครื่องได้โดยมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม แต่อย่างไรก็ดีสำหรับผู้เขียนโปรแกรมแล้วระบบเช่นนี้ยังมีการตอบสนองไม่ดีนัก กล่าวคือเมื่อผู้เขียนโปรแกรมนำโปรแกรมต้นฉบับซึ่งอยู่ในรูปของบัตรเจาะรูไปส่งที่ห้องเครื่อง แล้วต้องรอเป็นระยะหนึ่งกว่าจะทราบผลการดำเนินการ ภายใต้ภาวะการณ์เช่นนี้การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม (debugging) จึงเป็นกระบวนการที่กินเวลามาก หากผู้เขียนโปรแกรมลืมใส่เครื่องหมายวรรคตอนเพียงตัวเดียวผู้เขียนโปรแกรมต้องใช้เวลานานหลายชั่วโมงกว่าทราบความผิดพลาดนั้นและทำการแก้ไข ทำให้การพัฒนางานล่าช้า ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมโดยทั่วไปจึงต้องการระบบปฏิบัติการที่มีการตอบสนองเร็วเพื่อให้สามารถตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมได้ดียิ่งขึ้น
จากความต้องการดังกล่าวนี้เองจึงมีการคิดระบบปฏิบัติการแบบ timesharing ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้หลายคนสามารถใช้เครื่องในเวลาเดียวกันได้ โดยอาศัยการแบ่งเวลาของหน่วยประมวลผลกลางให้แก่ผู้ใช้เวียนกันไป ระบบ timesharing ที่ประสบความสำเร็จเกิดขึ้นที่ Dartmouth College และที่ Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) โดยระบบของ Dartmouth College เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้สนับสนุนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา BASIC เพียงอย่างเดียวและประสบความสำเร็จในการใช้งานทางธุรกิจในระยะหนึ่ง ส่วนระบบปฏิบัติการของ M.I.T. มีชื่อเรียกว่าระบบ CTSS เป็นระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการเอนกประสงค์ และประสบความสำเร็จสูงกว่าโดยเฉพาะในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ หลังจากระบบ CTSS ประสบความสำเร็จแล้วไม่นาน M.I.T., Bell Labs และบริษัท General Electric ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ ได้ร่วมกลุ่มกัน เพื่อทำการวิจัยและออกแบบระบบปฏิบัติการแบบ timesharing ใหม่ให้มีความสามารถมากขึ้น และกำหนดชื่อระบบปฏิบัติใหม่เป็น MULTICS (MULTiplexed Information and Computing Service) ระบบปฏิบัติการ MULTICS ไม่ทำงานตามที่คณะผู้ทำงานหวังไว้ เนื่องจากระบบได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางซึ่งมีความสามารถสูงกว่า หน่วยประมวลผลกลางแบบ 80286 ในปัจจุบันเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ดีแนวความคิดดังกล่าวนี้เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ในยุคนั้นเนื่องจากเป็นระยะเริ่มต้นของการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งานส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมขนาดเล็ก สาเหตุที่แท้จริงของความล้มเหลวของโครงการนี้มีมากมายเช่นในการออกแบบระบบกำหนดให้มีการใช้ภาษาระดับสูงคือภาษา PL/I ซึ่งเป็นภาษาที่อยู่ระหว่างการพัฒนาและมีการพัฒนาล่าช้ากว่ากำหนดการที่กำหนดไว้มากและมีข้อบกพร่องมากมาย นอกจากนี้แล้วยังมีการนำความคิดที่ล้ำสมัยหลายอย่างมาใช้ในขณะที่เทคโนโลยียังไม่พร้อม ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกับการพัฒนางานของ Charles Babbage ในสมัยศตวรรษที่ 19
เมื่อสิ้นระยะแรกของโครงการ ห้องปฏิบัติการ Bell ถอนตัวออกจากโครงการ ทำให้นักวิจัยคนหนึ่งในโครงการนี้คือ Ken Thompson ซึ่งว่างงานอยู่เริ่มหาแนวทางในการทำวิจัยต่อไป ในที่สุดตัดสินใจที่จะทำการเขียนระบบปฏิบัติการ MULTICS แบบย่อส่วนขึ้นโดยใช้ภาษา Assembly โดยใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์รุ่น PDP-7 ซึ่งว่างอยู่ในขณะนั้น ระบบปฏิบัติการของ Thompson สามารถทำงานได้เป็นอย่างดี ระบบปฏิบัติการนี้นักวิจัยอีกคนหนึ่งของห้องปฏิบัติการ Bell คือ Brian Kernighan ตั้งชื่อให้ว่า UNICS หรือ Uniplexed Information and Computing Service เพื่อเป็นการล้อเลียนโครงการ MULTICS และต่อมาได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น UNIX
ภาพโดยรวมของระบบปฏิบัติการ UNIX
เป้าหมายของ UNIX
UNIX เป็นระบบปฏิบัติการชนิดที่เรียกว่า interactive timesharing และเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับการออกแบบโดยนักเขียนโปรแกรม เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสมกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่และมีความซับซ้อน การพัฒนาโปรแกรมในโครงการเช่นนี้ต้องใช้นักเขียนโปรแกรมจำนวนมากทำงานร่วมกัน ในระหว่างการพัฒนานักเขียนโปรแกรมเหล่านี้จำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันทั้งในส่วนของโปรแกรมต้นฉบับและข้อมูลสำหรับทดสอบ ข้อมูลเหล่านี้ต้องมีกลไกควบคุมการใช้งานที่เหมาะสม ดังนั้นระบบปฏิบัติการ UNIX ซึ่งได้รับการออกแบบให้เหมาะสมในการทำงานของนักเขียนโปรแกรมจึงเป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะแตกต่างออกไปจากระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ออกแบบสำหรับให้ใช้กับงานสำนักงานโดยทั่วไป เนื่องจาก UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นสนับสนุนการเขียนโปรแกรม ดังนั้นหากจะทำความเข้าใจปรัชญาของ UNIX ต้องเริ่มต้นด้วยคำถามที่ว่าผู้เขียนโปรแกรมมีความต้องการอย่างไรต่อระบบปฏิบัติการ ความต้องการประการแรกคือผู้เขียนโปรแกรมต้องการระบบปฏิบัติการที่เรียบง่าย และมีความแน่นอนและแนวปฏิบัติเป็นแบบเดียวกัน ตัวอย่างความเรียบง่ายของระบบปฏิบัติการได้แก่ระบบแฟ้ม กล่าวคือระบบปฏิบัติการมองแฟ้มเป็นที่รวมของข้อมูลระดับไบต์โดยไม่สนใจว่าไบต์ข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลชนิดใดและมีกรรมวิธีในการเข้าถึงข้อมูลนั้นอย่างไร การแยกชนิดของข้อมูลในแฟ้มว่าเป็นแบบอักขระ (text) หรือรหัสฐานสอง (binary) รวมถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูล เช่นการเข้าถึงข้อมูลแบบตามลำดับ การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม หรือการเข้าถึงข้อมูลโดยใช้ดัชนี เป็นเรื่องของโปรแกรมประยุกต์ที่จะต้องตัดสินใจและดำเนินการเอง นอกจากนี้แล้วระบบปฏิบัติการยังมองอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าเช่น แป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นแฟ้มด้วย ทำให้การดำเนินการเกี่ยวกับแป้นพิมพและจอภาพเป็นไปเช่นเดียวกับแฟ้มทำให้เรียกใช้งานได้สะดวก ตัวอย่างของความแน่นอนและมีแนวปฏิบัติเป็นแบบเดียวกันของระบบปฏิบัติการเช่น หากคำสั่ง ls A* หมายถึงการแสดงรายชื่อแฟ้มที่ขึ้นต้นด้วยอักษร A แล้ว คำสั่ง rm A* ต้องหมายถึงการลบแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่ขึ้นต้นด้วยอักษร A ไม่ใช่แฟ้มข้อมูลที่มีชื่อเป็น A* คุณลักษณะของระบบปฏิบัติการเช่นนี้เรียกว่า principle of least surprise
ความต้องการประการที่สองที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการคือระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง และมีความยืดหยุ่นในการทำงาน ซึ่งหมายความว่าระบบปฏิบัติการควรมีองค์ประกอบพื้นฐานจำนวนน้อย แต่องค์ประกอบพื้นฐานเหล่านี้ต้องสามารถนำมาเชื่อมต่อกันหรือทำงานร่วมกันได้หลายรูปแบบเพื่อให้เหมาะสมกับการแก้ปัญหาแต่ละชนิด หลักการที่สำคัญของเรื่องนี้คือโปรแกรมอรรถประโยชน์แต่ละโปรแกรมที่มีในระบบปฏิบัติการ UNIX ต้องเป็นโปรแกรมที่สามารถทำงานได้เพียงอย่างเดียวและต้องทำงานนั้นได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างเช่นโปรแกรมตัวแปลภาษา (compiler) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการตรวจสอบและแปลโปรแกรมภาษาต้นฉบับเป็นภาษาเครื่องเพียงอย่างเดีย ไม่สามารถพิมพ์โปรแกรมต้นฉบับออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ เนื่องจากมีโปรแกรมอื่นเช่น cat ซึ่งมีความสามารถในการแสดงผลทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ได้ดีกว่า
ความต้องการประการสุดท้ายที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการจากระบบปฏิบัติการคือการสั่งงานที่ง่าย รวบรัดและตรงไปตรงมา โดยทั่วไปแล้วผู้เขียนโปรแกรมไม่ชอบการพิมพ์คำสั่งยาวเกินความจำเป็น เช่นในการคัดลอกแฟ้ม คำสั่งที่ประกอบด้วยตัวอักขระสองตัวคือ cp มีความหมายชัดเจนพอแล้ว ดังนั้นจึงใช้คำสั่ง cp แทนคำว่า copy ได้ นอกจากนี้แล้วนักเขียนโปรแกรมยังต้องการระบบที่ทำงานทันทีที่ได้รับคำสั่งมากกว่าระบบที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่นการค้นหาบรรทัดข้อความที่มีคำว่า “system” ทุกบรรทัดจากแฟ้มชื่อ “myfile1” และแฟ้มชื่อ “myfile2” ผู้ใช้สามารถใช้คำสั่ง grep system myfile1 myfile2 ได้ทันที โดยไม่ต้องเริ่มต้นด้วยการเรียกใช้โปรแกรม grep ก่อน จากนั้นโปรแกรม grep จะขอให้ผู้ใช้ป้อนข้อความที่ต้องการค้นเข้าไป หลังจากนั้นจึงขอให้ผู้ใช้ป้อนชื่อแฟ้มที่ต้องการค้นหาข้อความแฟ้มแรกเข้าไป เมื่อได้ชื่อของแฟ้มแรกแฟ้มแล้วจะขอให้ผู้ใช้บอกต่อไปว่ายังมีแฟ้มอื่นอีกหรือไม่ หากมีให้ป้อนชื่อแฟ้มต่อไปจนกว่าจะหมดแล้วจึงจะเริ่มทำงาน การติดต่อกับผู้ใช้แบบนี้อาจจะเหมาะสมสำหรับผู้เริ่มต้น แต่เมื่อผู้ใช้เริ่มมีความชำนาญมากขึ้นผู้ใช้จะเริ่มรู้สึกรำคาญ และอยากป้อนคำสั่งเพียงครั้งเดียวให้ได้ผลตามที่ต้องการ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือผู้ใช้งานต้องการระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่เป็นผู้รับใช้ซึ่งเมื่อได้รับคำสั่งที่ชัดเจนแล้วลงมือทำงานมากกว่าระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงที่จะต้องคอยสอบถามและให้คำแนะนำอยู่ตลอดเวลา
แหล่งการเรียนรู้ของระบบปฏิบัติการ Unix
http://www.compsci.buu.ac.th/
www.eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1108214469-Linux.doc
http://www.thaisocial.net/
www.thaiitcertify.com/training/Linux/ThaiitCertify-LinuxSystemAdminandNetworking.doc
www.charm.au.edu/SCPaper/DatabaseSystem28Sep07.doc
www.ipthailand.org/info/images/pur_25510218_c.doc
https://dss.psu.ac.th/dss_person/help/DSSAccount.doc
www.opp.go.th/fileupload/news/fileup/TOR-Database3_25_06_51_1214378771.doc
www.dopa.go.th/iad/subject/it2.doc
http://www.krirk.ac.th/faculty/Communication_arts/truexpert/@information/cm2111/appendix[1]InterNetwork.doc
www.lannapoly.ac.th/com/aek/Learning_Sheet/Unit%201.1.doc
ย้อนหลังไปในช่วงทศวรรษที่ 1940 และ 1950 เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่มีในโลกอาจกล่าวได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เนื่องจากระบบปฏิบัติการของเครื่องอนุญาตให้ผู้ใช้ใช้งานเครื่องได้เพียงครั้งละคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้ที่มีความประสงค์จะใช้เครื่องต้องทำการจองเวลาใช้เครื่องไว้ล่วงหน้า เมื่อถึงเวลาที่จองไว้ผู้ใช้นั้นจะได้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นแต่เพียงผู้เดียวตลอดระยะเวลาที่จองไว้ ผู้ใช้อื่นไม่สามารถใช้งานเครื่องอีกได้ และโดยทั่วไปในระหว่างการใช้งาน ผู้ใช้ไม่ได้ใช้งานหน่วยประมวลผลกลางเต็มกำลัง เพราะอาจต้องหยุดคิดแก้ปัญหา หรือป้อนข้อมูลเข้าเครื่องซึ่งใช้ความสามารถของเครื่องน้อยมาก จึงกล่าวได้ว่าผู้ใช้งานนั้นไม่ได้ใช้เครื่องจนเต็มขีดความสามารถตลอดเวลา เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนั้นมีราคาแพงจึงเกิดแนวความคิดที่จะสร้างระบบปฏิบัติการที่ผู้ใช้สามารถใช้งานเครื่องได้เต็มกำลังตลอดเวลาโดยการให้ผู้ใช้แต่ละคนเตรียมงานไว้ล่วงหน้าโดยใช้บัตรเจาะรู เมื่อมีปริมาณของงานมากถึงระดับหนึ่งจึงจะเดินเครื่องและทำการอ่านงานเหล่านั้นเข้าไปประมวลผลต่อเนื่องกันไป ระบบปฏิบัติการเช่นนี้เรียกว่าระบบการประมวลผลแบบ batch ระบบนี้ช่วยให้ใช้งานเครื่องได้โดยมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม แต่อย่างไรก็ดีสำหรับผู้เขียนโปรแกรมแล้วระบบเช่นนี้ยังมีการตอบสนองไม่ดีนัก กล่าวคือเมื่อผู้เขียนโปรแกรมนำโปรแกรมต้นฉบับซึ่งอยู่ในรูปของบัตรเจาะรูไปส่งที่ห้องเครื่อง แล้วต้องรอเป็นระยะหนึ่งกว่าจะทราบผลการดำเนินการ ภายใต้ภาวะการณ์เช่นนี้การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม (debugging) จึงเป็นกระบวนการที่กินเวลามาก หากผู้เขียนโปรแกรมลืมใส่เครื่องหมายวรรคตอนเพียงตัวเดียวผู้เขียนโปรแกรมต้องใช้เวลานานหลายชั่วโมงกว่าทราบความผิดพลาดนั้นและทำการแก้ไข ทำให้การพัฒนางานล่าช้า ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมโดยทั่วไปจึงต้องการระบบปฏิบัติการที่มีการตอบสนองเร็วเพื่อให้สามารถตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมได้ดียิ่งขึ้น
จากความต้องการดังกล่าวนี้เองจึงมีการคิดระบบปฏิบัติการแบบ timesharing ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้หลายคนสามารถใช้เครื่องในเวลาเดียวกันได้ โดยอาศัยการแบ่งเวลาของหน่วยประมวลผลกลางให้แก่ผู้ใช้เวียนกันไป ระบบ timesharing ที่ประสบความสำเร็จเกิดขึ้นที่ Dartmouth College และที่ Massachusetts Institute of Technology (M.I.T.) โดยระบบของ Dartmouth College เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้สนับสนุนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา BASIC เพียงอย่างเดียวและประสบความสำเร็จในการใช้งานทางธุรกิจในระยะหนึ่ง ส่วนระบบปฏิบัติการของ M.I.T. มีชื่อเรียกว่าระบบ CTSS เป็นระบบที่ได้รับการออกแบบเพื่อให้เป็นระบบปฏิบัติการเอนกประสงค์ และประสบความสำเร็จสูงกว่าโดยเฉพาะในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ หลังจากระบบ CTSS ประสบความสำเร็จแล้วไม่นาน M.I.T., Bell Labs และบริษัท General Electric ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ ได้ร่วมกลุ่มกัน เพื่อทำการวิจัยและออกแบบระบบปฏิบัติการแบบ timesharing ใหม่ให้มีความสามารถมากขึ้น และกำหนดชื่อระบบปฏิบัติใหม่เป็น MULTICS (MULTiplexed Information and Computing Service) ระบบปฏิบัติการ MULTICS ไม่ทำงานตามที่คณะผู้ทำงานหวังไว้ เนื่องจากระบบได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางซึ่งมีความสามารถสูงกว่า หน่วยประมวลผลกลางแบบ 80286 ในปัจจุบันเพียงเล็กน้อย อย่างไรก็ดีแนวความคิดดังกล่าวนี้เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ในยุคนั้นเนื่องจากเป็นระยะเริ่มต้นของการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งานส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมขนาดเล็ก สาเหตุที่แท้จริงของความล้มเหลวของโครงการนี้มีมากมายเช่นในการออกแบบระบบกำหนดให้มีการใช้ภาษาระดับสูงคือภาษา PL/I ซึ่งเป็นภาษาที่อยู่ระหว่างการพัฒนาและมีการพัฒนาล่าช้ากว่ากำหนดการที่กำหนดไว้มากและมีข้อบกพร่องมากมาย นอกจากนี้แล้วยังมีการนำความคิดที่ล้ำสมัยหลายอย่างมาใช้ในขณะที่เทคโนโลยียังไม่พร้อม ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกับการพัฒนางานของ Charles Babbage ในสมัยศตวรรษที่ 19
เมื่อสิ้นระยะแรกของโครงการ ห้องปฏิบัติการ Bell ถอนตัวออกจากโครงการ ทำให้นักวิจัยคนหนึ่งในโครงการนี้คือ Ken Thompson ซึ่งว่างงานอยู่เริ่มหาแนวทางในการทำวิจัยต่อไป ในที่สุดตัดสินใจที่จะทำการเขียนระบบปฏิบัติการ MULTICS แบบย่อส่วนขึ้นโดยใช้ภาษา Assembly โดยใช้เครื่องมินิคอมพิวเตอร์รุ่น PDP-7 ซึ่งว่างอยู่ในขณะนั้น ระบบปฏิบัติการของ Thompson สามารถทำงานได้เป็นอย่างดี ระบบปฏิบัติการนี้นักวิจัยอีกคนหนึ่งของห้องปฏิบัติการ Bell คือ Brian Kernighan ตั้งชื่อให้ว่า UNICS หรือ Uniplexed Information and Computing Service เพื่อเป็นการล้อเลียนโครงการ MULTICS และต่อมาได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็น UNIX
ภาพโดยรวมของระบบปฏิบัติการ UNIX
เป้าหมายของ UNIX
UNIX เป็นระบบปฏิบัติการชนิดที่เรียกว่า interactive timesharing และเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับการออกแบบโดยนักเขียนโปรแกรม เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสมกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่และมีความซับซ้อน การพัฒนาโปรแกรมในโครงการเช่นนี้ต้องใช้นักเขียนโปรแกรมจำนวนมากทำงานร่วมกัน ในระหว่างการพัฒนานักเขียนโปรแกรมเหล่านี้จำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันทั้งในส่วนของโปรแกรมต้นฉบับและข้อมูลสำหรับทดสอบ ข้อมูลเหล่านี้ต้องมีกลไกควบคุมการใช้งานที่เหมาะสม ดังนั้นระบบปฏิบัติการ UNIX ซึ่งได้รับการออกแบบให้เหมาะสมในการทำงานของนักเขียนโปรแกรมจึงเป็นระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะแตกต่างออกไปจากระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ออกแบบสำหรับให้ใช้กับงานสำนักงานโดยทั่วไป เนื่องจาก UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นสนับสนุนการเขียนโปรแกรม ดังนั้นหากจะทำความเข้าใจปรัชญาของ UNIX ต้องเริ่มต้นด้วยคำถามที่ว่าผู้เขียนโปรแกรมมีความต้องการอย่างไรต่อระบบปฏิบัติการ ความต้องการประการแรกคือผู้เขียนโปรแกรมต้องการระบบปฏิบัติการที่เรียบง่าย และมีความแน่นอนและแนวปฏิบัติเป็นแบบเดียวกัน ตัวอย่างความเรียบง่ายของระบบปฏิบัติการได้แก่ระบบแฟ้ม กล่าวคือระบบปฏิบัติการมองแฟ้มเป็นที่รวมของข้อมูลระดับไบต์โดยไม่สนใจว่าไบต์ข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลชนิดใดและมีกรรมวิธีในการเข้าถึงข้อมูลนั้นอย่างไร การแยกชนิดของข้อมูลในแฟ้มว่าเป็นแบบอักขระ (text) หรือรหัสฐานสอง (binary) รวมถึงวิธีการเข้าถึงข้อมูล เช่นการเข้าถึงข้อมูลแบบตามลำดับ การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม หรือการเข้าถึงข้อมูลโดยใช้ดัชนี เป็นเรื่องของโปรแกรมประยุกต์ที่จะต้องตัดสินใจและดำเนินการเอง นอกจากนี้แล้วระบบปฏิบัติการยังมองอุปกรณ์นำข้อมูลเข้าเช่น แป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นแฟ้มด้วย ทำให้การดำเนินการเกี่ยวกับแป้นพิมพและจอภาพเป็นไปเช่นเดียวกับแฟ้มทำให้เรียกใช้งานได้สะดวก ตัวอย่างของความแน่นอนและมีแนวปฏิบัติเป็นแบบเดียวกันของระบบปฏิบัติการเช่น หากคำสั่ง ls A* หมายถึงการแสดงรายชื่อแฟ้มที่ขึ้นต้นด้วยอักษร A แล้ว คำสั่ง rm A* ต้องหมายถึงการลบแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่ขึ้นต้นด้วยอักษร A ไม่ใช่แฟ้มข้อมูลที่มีชื่อเป็น A* คุณลักษณะของระบบปฏิบัติการเช่นนี้เรียกว่า principle of least surprise
ความต้องการประการที่สองที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการคือระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง และมีความยืดหยุ่นในการทำงาน ซึ่งหมายความว่าระบบปฏิบัติการควรมีองค์ประกอบพื้นฐานจำนวนน้อย แต่องค์ประกอบพื้นฐานเหล่านี้ต้องสามารถนำมาเชื่อมต่อกันหรือทำงานร่วมกันได้หลายรูปแบบเพื่อให้เหมาะสมกับการแก้ปัญหาแต่ละชนิด หลักการที่สำคัญของเรื่องนี้คือโปรแกรมอรรถประโยชน์แต่ละโปรแกรมที่มีในระบบปฏิบัติการ UNIX ต้องเป็นโปรแกรมที่สามารถทำงานได้เพียงอย่างเดียวและต้องทำงานนั้นได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างเช่นโปรแกรมตัวแปลภาษา (compiler) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการตรวจสอบและแปลโปรแกรมภาษาต้นฉบับเป็นภาษาเครื่องเพียงอย่างเดีย ไม่สามารถพิมพ์โปรแกรมต้นฉบับออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ เนื่องจากมีโปรแกรมอื่นเช่น cat ซึ่งมีความสามารถในการแสดงผลทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ได้ดีกว่า
ความต้องการประการสุดท้ายที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการจากระบบปฏิบัติการคือการสั่งงานที่ง่าย รวบรัดและตรงไปตรงมา โดยทั่วไปแล้วผู้เขียนโปรแกรมไม่ชอบการพิมพ์คำสั่งยาวเกินความจำเป็น เช่นในการคัดลอกแฟ้ม คำสั่งที่ประกอบด้วยตัวอักขระสองตัวคือ cp มีความหมายชัดเจนพอแล้ว ดังนั้นจึงใช้คำสั่ง cp แทนคำว่า copy ได้ นอกจากนี้แล้วนักเขียนโปรแกรมยังต้องการระบบที่ทำงานทันทีที่ได้รับคำสั่งมากกว่าระบบที่มีการโต้ตอบกับผู้ใช้ เช่นการค้นหาบรรทัดข้อความที่มีคำว่า “system” ทุกบรรทัดจากแฟ้มชื่อ “myfile1” และแฟ้มชื่อ “myfile2” ผู้ใช้สามารถใช้คำสั่ง grep system myfile1 myfile2 ได้ทันที โดยไม่ต้องเริ่มต้นด้วยการเรียกใช้โปรแกรม grep ก่อน จากนั้นโปรแกรม grep จะขอให้ผู้ใช้ป้อนข้อความที่ต้องการค้นเข้าไป หลังจากนั้นจึงขอให้ผู้ใช้ป้อนชื่อแฟ้มที่ต้องการค้นหาข้อความแฟ้มแรกเข้าไป เมื่อได้ชื่อของแฟ้มแรกแฟ้มแล้วจะขอให้ผู้ใช้บอกต่อไปว่ายังมีแฟ้มอื่นอีกหรือไม่ หากมีให้ป้อนชื่อแฟ้มต่อไปจนกว่าจะหมดแล้วจึงจะเริ่มทำงาน การติดต่อกับผู้ใช้แบบนี้อาจจะเหมาะสมสำหรับผู้เริ่มต้น แต่เมื่อผู้ใช้เริ่มมีความชำนาญมากขึ้นผู้ใช้จะเริ่มรู้สึกรำคาญ และอยากป้อนคำสั่งเพียงครั้งเดียวให้ได้ผลตามที่ต้องการ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือผู้ใช้งานต้องการระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่เป็นผู้รับใช้ซึ่งเมื่อได้รับคำสั่งที่ชัดเจนแล้วลงมือทำงานมากกว่าระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงที่จะต้องคอยสอบถามและให้คำแนะนำอยู่ตลอดเวลา
แหล่งการเรียนรู้ของระบบปฏิบัติการ Unix
http://www.compsci.buu.ac.th/
www.eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1108214469-Linux.doc
http://www.thaisocial.net/
www.thaiitcertify.com/training/Linux/ThaiitCertify-LinuxSystemAdminandNetworking.doc
www.charm.au.edu/SCPaper/DatabaseSystem28Sep07.doc
www.ipthailand.org/info/images/pur_25510218_c.doc
https://dss.psu.ac.th/dss_person/help/DSSAccount.doc
www.opp.go.th/fileupload/news/fileup/TOR-Database3_25_06_51_1214378771.doc
www.dopa.go.th/iad/subject/it2.doc
http://www.krirk.ac.th/faculty/Communication_arts/truexpert/@information/cm2111/appendix[1]InterNetwork.doc
www.lannapoly.ac.th/com/aek/Learning_Sheet/Unit%201.1.doc
วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS)
เป็นซอฟต์แวร์ ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้
ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่ง และจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้รันซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆตัวพร้อมๆกัน
ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น
รายชื่อต่อไปนี้เป็นรายชื่อของ ระบบปฏิบัติการ ต่างๆ ที่มีขึ้น
CP/M
MP/M
TRS-DOS
ProDOS
DOS
Microsoft Windows
Linux
Unix
Mac OS
FreeBSD
OS/2
RISC OS
BeOS
Amiga
Plan9
NetWare
MorphOS
Zaurus
VMS
EPOC
Solaris
IRIX
Darwin
HPUX
UNICOS
MINIX
ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์
นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอ็กซ์ และโซลาริส และรวมถึงลีนุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์
ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ และ ซินู หรือ พินโทส
ในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ ปาล์มโอเอส หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน
อ้างอิง
Deitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-092641-8.
เป็นซอฟต์แวร์ ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้
ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่ง และจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง ในกรณีที่อนุญาตให้รันซอฟต์แวร์ประยุกต์หลายๆตัวพร้อมๆกัน
ระบบปฏิบัติการ ช่วยให้ตัวซอฟต์แวร์ประยุกต์ ไม่ต้องจัดการเรื่องเหล่านั้นด้วยตนเอง เพียงแค่เรียกใช้บริการจากระบบปฏิบัติการก็พอ ทำให้พัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้ง่ายขึ้น
รายชื่อต่อไปนี้เป็นรายชื่อของ ระบบปฏิบัติการ ต่างๆ ที่มีขึ้น
CP/M
MP/M
TRS-DOS
ProDOS
DOS
Microsoft Windows
Linux
Unix
Mac OS
FreeBSD
OS/2
RISC OS
BeOS
Amiga
Plan9
NetWare
MorphOS
Zaurus
VMS
EPOC
Solaris
IRIX
Darwin
HPUX
UNICOS
MINIX
ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทุกวันนี้ ได้แก่ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส และลินุกซ์
นอกจากนี้ ยังมีระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ ซึ่งได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้กันในหน่วยงาน ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์ที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ ยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี เอไอเอ็กซ์ และโซลาริส และรวมถึงลีนุกซ์ซึ่งพัฒนาโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับยูนิกซ์
ระบบปฏิบัติการบางตัว ถูกออกแบบมาสำหรับการเรียนการสอนวิชาระบบปฏิบัติการโดยเฉพาะ เช่น มินิกซ์ และ ซินู หรือ พินโทส
ในอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ก็อาจมีระบบปฏิบัติการเช่นกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ ปาล์มโอเอส หรือ ซิมเบียน ในโทรศัพท์มือถือ หรือระบบปฏิบัติการ TRON ในเครื่องใช้ไฟฟ้าตามบ้าน
อ้างอิง
Deitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-092641-8.
แนะนำตัวเอง

ชื่อ นางสาวพนิดา ธรรมวัตร
ชื่อเล่น บี
อายุ 20 ปี
ที่อยู่ 106 หมู่ 12 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล
จังหวัดศรีสะเกษ 33160
ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
รหัสนักศึกษา 5012252228
เบอร์โทรศัพท์ 0848244386
เพื่อนของข้าพเจ้า
จากซ้ายมือ - ขวามือ (บน)
นางสาวนงนุช แสงพฤกษ์
นางสาวดรุณี ทองปลิว
นางสาวกาญจนา โนนสามารถ
นางสาวพิชชาภา ดรหลัดคำ
นางสาวสุนารี ขันติวงษ์
จากซ้ายมือ - ขวามือ (ล่าง)
นายราชัน จันเปรียง
นายชาญชัย ยาศรี
นายศรไกร เรืองศรี (ช่างภาพ)
นางสาวธัญญลักษณื พรมนะรา
พบกับเรื่องราวของ ' ผู้เป็นแม่' ที่น่าเศร้าใจเรื่องหนึ่ง ในวันที่สามของการไปปฏิบัติธรรมที่วัดอัมพวัน จ.สิงห์บุรี สมมุติว่าแกชื่อว่า... ' ป้าใจ' ก็แล้วกันนะคะ ฉันได้รู้จักกับแกก็เพราะว่า... เจ้าหน้าที่ให้ฉันย้ายข้าวของออกจากโรงเรือนที่นอนมาแล้วสองคืน ไปหาที่นอนใหม่ เพราะว่าจะมีคณะของทหาร (ไม่รู้มาจากหน่วยไหน) ประมาณ 300 นาย ถูกส่งมาฝึกปฏิบัติกรรมฐานในบ่ายวันนั้น ฉันหอบของเดินมาที่โรงเรือนใกล้ ๆ กัน เปิดประตูเข้าไป มองเห็นที่ว่างอยู่ จึงตรงปรี่ไปที่นั่นทันที และตรงนั้น มีป้าใจ กำลังนอนเอามือก่ายหน้าผากอยู่ แรก ๆ ฉันออกจะไม่ไว้ใจป้าแกนัก เพราะแกบอกว่า แกเป็นคนร่อนเร่ ร่อนเร่ไปตามวัดต่าง ๆ ไปอาศัยข้าววัดกิน อาศัยที่วัดนอน... ออกจากวัดนั้น ไปวัดนี้ ไปเรื่อย ๆ ไม่มีจุดมุ่งหมาย... ใครบอกที่วัดไหนมีคนไปเยอะ แกก็จะไปวัดนั้น เพราะนั่นหมายความว่า...
แกจะมีข้าวกินพออิ่มรอดไปวัน ๆ แน่นอน
ยามฉันนอน ฉันก็จะระวังตัว ทั้ง ๆ ที่ไม่มีของมีค่าอะไรติดตัวไป
โทรศัพท์ก็ไม่ได้พกไป จะมีก็แค่สร้อยทองที่คล้องอยู่กับคอ เส้นก็ไม่ใหญ่นัก
สตางค์ที่พกไปพอทำบุญ และใช้หนี้สงฆ์ กับซื้อหนังสือของหลวงพ่อกลับบ้าน
อีกวันถัดมา แกก็มาบอกลา ว่าจะกลับแล้ว จะติดรถไปกับเพื่อนใหม่ ที่แกมารู้จักที่นี่
แกเปลี่ยนจากชุดขาว เป็นชุดธรรมดาเรียบร้อย รอติดรถเพื่อนแกจะไปลงแถว ๆ ลาดพร้าว
คืนวันนั้น ฉันยังเจอแกใส่ชุดขาวอีกครั้ง นอนเอามือก่ายหน้าผากเหมือนเดิน
ฉันไม่ได้ถาม หรือซักไซร้ไล่เรียงอะไรแก แต่กลับรู้สึกสงสารอย่างบอกไม่ถูก
พลันคิดต่อตัวเองว่าในใจว่า...
ทรัพย์สินของฉันเมีเพียงแค่นี้...ฉันก็ยังทำหวงไปได้ ทำให้จิตใจตัวเองกังวลไปเปล่า ๆ
ดูป้าแกไม่ใช่คนมือไว หรือคน 'ขี้ขอ' เลยสักนิด ฉันไม่เคยเห็นแกขอเงินใครสักคนเลย
รุ่งเช้า หลังจากทำวัตรเช้า และทานอาหารเช้าเสร็จ
ฉันจึงนั่งคุยกับป้าใจอย่างเป็นทางการครั้งแรก
' ป้าเป็นคนที่ไหนเหรอคะ'
' ป้าเป็นคนเพชรบูรณ์จ้ะ'
' ป้าไม่มีลูกบ้างเหรอคะ'
' ป้ามีลูกสามคน สองคนน่ะเป็นผู้ชาย โตกันหมดแล้ว คนเล็กเป็นลูกสาว ป้ายกให้คนขับรถตู้ที่รู้จักกันตั้งแต่แปดขวบ'
' แล้วทำไมป้าไม่ไปอยู่กับลูกชายล่ะคะ ทำไมป้าต้องมาร่อนเร่อย่างนี้ด้วย'
ป้าเงียบไปพักหนึ่ง นั่งชันเข่า แล้วกอดเข่าเอาไว้ เหมือนจะหาหลักยึดร่างกายแกเอาไว้
กันมันสั่นไหวโยกไปตามแรงสะอื้น ที่แกพยายามปกปิดฉัน ด้วยการหันหน้าไปทางอื่น
' ป้าไปหามันแล้ว มันไม่ให้ป้าอยู่ด้วย มันบอกว่าเพิ่งโดนไล่ออกจากยามมา ลูกป้าตนนี้มันทำงานไม่ทนร้อก'
' แปลว่าเค้ากำลังตกงานเหรอคะป้า'
' มันได้งานใหม่แล้ว เป็นยามอยู่แถวรังสิต แต่มันไม่ให้ป้าอยู่ด้วย เพราะมันเพิ่งทำงาน มันบอกมันไม่มีปัญญาเลี้ยงป้าน่ะ'
' ดูป้าก็ไม่ใช่คนกินจุซักหน่อยเนาะ แล้วลูกชายป้าอีกคนล่ะ'
' คนนั้นน่ะ มันทำให้ป้าต้องมาร่อนเร่อยู่อย่างนี้ไงล่ะหนู'
' อ้าว...ทำไมเหรอคะ'
' ก็มันน่ะไปหุ้นกะผู้หญิง แล้วผู้หญิงเค้าโกงไปหมดเลย มันก็เลยกลับมาอยู่บ้าน กลับมาก็ไม่ทำอะไรหรอก หาเรื่องทะเลาะกับญาติคนโน้นคนนี้เค้าไปทั่ว ทะเลาะกันจนเค้าตัดไฟบ้านป้าเลย ป้าขอต่อพ่วงไฟจากบ้านเค้ามาน่ะ'
' ทะเลาะกันรุนแรงเลยสิคะ'
' ฮื่อ พอเค้าตัดไฟ ไอ้ลูกป้าก็หนีหายไปอยู่ที่อื่น พอมันไปแล้ว ญาติ ๆ ก็มายืนด่าป้าปาว ๆ ที่หน้าบ้านทุกวัน ว่าเลี้ยงลูกไม่ดี ป้าก็อับอายเค้า แถมมืดลงก็มองอะไรไม่เห็น เพราะเค้าตัดไฟ ป้าก็เลยต้องออกมาร่อนเร่อย่างนี้แหละหนู มันคงเป็นกรรมเวรของป้าเอง ป้าเลี้ยงพวกมันมาตั้งแต่เกิด ไปทำงานก่อสร้างที่ไหน ๆ ก็ต้องหอบกระเตงมันไป ป้ากินอย่างอด ๆ อยาก ๆ เพราะต้องหาให้มันกินจนอิ่มก่อน หาเงินส่งเสียให้พวกมันเรียนจนจบม. 3 พอมันโตทำงานกันได้ ป้าก็ยังต้องอด ๆ อยาก ๆ เหมือนเดิม ไม่รู้นะ ว่าป้าทำกรรมทำเวรอะไรมา'
ฟังถึงตรงนี้ กลับเป็นฉันเองที่ต้องแอบเบือนหน้าหนีแก เช็ดน้ำตาที่ไหลเป็นทางป้อย ๆ ด้วยความสงสาร
เออหนอ...โลกนี้ช่างขาดความยุติธรรมเสียจริง ๆ ทีกับฉันที่อยากจะเลี้ยงดูพ่อใจแทบขาด
สวรรค์ก็แกล้งเอาลมหายใจพ่อของฉันไปดื้อ ๆ ซะอย่างนั้น
แต่กับป้าคนนี้ สวรรค์กลับปล่อยให้แกมีลมหายใจอยู่อย่างทุกข์ทน
ทำไมลูก ๆ ของป้าจึงกลับไม่เหลียวแลเลยสักนิด...
ทำไมพวกเค้าไม่ยินดีกับ โอกาส ที่ได้...โอกาสที่ฉัน หรือใครอีกหลาย ๆ คนต้องการที่จะได้รับ
ทำไมพวกเค้าปฏิเสธ โชคดี ที่พวกเค้ากำลังได้รับ..โชคดี ที่ฉัน หรือใครอีกหลาย ๆ คนก็วาดหวัง
' แล้วป้าจะไปไหนต่อจ๊ะ'
' จริง ๆ ป้าก็อยากทำงาน แต่ไปที่ไหน ๆ เค้าก็ไม่รับ บอกว่าป้าแก่แล้ว
พอดีเพื่อนคนเมื่อวานที่ป้าจะกลับด้วยน่ะ เค้าให้ที่อยู่ไว้ ให้ป้าไปสมัครเป็นแม่บ้านที่ปั๊มน้ำมันเพื่อนเค้าน่ะ'
' ดีจัง แล้วป้าจะไปยังไงล่ะคะ'
' พอดีเมื่อวาน รถเค้าเต็ม วันนี้สาย ๆ ป้าว่าจะออกไปนั่งรถเมล์ไปกรุงเทพน่ะ'
' แล้วป้าไปถูกเหรอคะ'
' ป้าไปมาหมดทั่วประเทศแล้ว ไปไม่ยากร้อก แค่ลาดพร้าว 85 เอง'
' ฮ่ะ ๆ ป้าเก่งกว่าหนูอีกนะเนี่ย หนูยังไปกรุงเทพไม่ค่อยถูกเลย'
ป้าแกส่งเสียงหัวเราะตามฉันพร้อมพูดว่า...
' ถ้าหนูอยากไปไหนบอกป้านะ เดี๋ยวป้าจะพาไป'
ฉันเหลือบมองนาฬิกาที่ข้อมือ จะแปดโมงแล้ว ถึงเวลาปฏิบัติกรรมฐานอีกแล้ว
ฉันจึงขอตัว ก่อนจากกัน ฉันหยุดคิดนิดหนึ่ง ก่อนรูดซิบกระเป๋าใบเล็กที่คล้องคออยู่ ที่แสนจะหวงนักหวงหนาเมื่อคืนก่อน ฉันควักเงินออกมาแล้วยัดใส่มือแก พร้อมพูดว่า
' หนูช่วยป้าพอค่าเดินทาง กับค่าอาหารได้แค่สองวันนะจ๊ะ'
ป้าใจแกยกมือท่วมหัว ปากก็พร่ำคำขอบคุณคำอวยพรต่าง ๆ นา
ฉันมองเห็นใบหน้าป้าที่เปี่ยมสุข...ก่อนฉันหันหลังเดินจากป้าใจมา พร้อมน้ำตาที่เอ่อท่วมท้น...
เงินเพียงน้อยนิด สร้างสุขให้ป้าได้ขนาดนี้เชียวหรือ
แล้วป้าเค้าจะได้งานทำหรือเปล่านะ หากไม่ได้งานทำเพราะเหตุผลเดิม ๆ
ป้าใจแกก็ต้องเดินทางร่อนเร่ไปเรื่อย ๆ เหมือนเดิม...
ชีวิตแก จะต้องเดินทางต่อไปอีกยาวไกลแค่ไหนนะ...
ฉันขอภาวนา ให้ลูก ๆ ของป้าสักคน หยุดการเดินทางของ 'แม่' ของเขาด้วยการเลี้ยงดูด้วยเถอะ
แกต้องการแค่ที่นอน และอาหารเพียงสามมื้อที่ไม่ต้องซื้อหามาด้วยราคาแพง ๆ ...แค่นั้นเอง
ยามเด็กแม่อุ้มชู...เลี้ยงดูเจ้า
แม่ต้องเฝ้ายามเจ้าป่วย ร้องไห้จ้า
ต้องแบกหาม จนบ่าทรุดเลี้ยงเจ้ามา
ทั้งการศึกษาให้แก่เจ้า...อย่างลำเค็ญ
แม่เพียงหวังเห็นเจ้าได้เติบใหญ่
พร้อมกับใจรักแม่ ที่ยากเข็น
ไม่เคยขอสิ่งใดเกินจำเป็น
เพียงทำเช่นแม่เคยทำ...กับเจ้ามา
ลูกหลายคนแม่เลี้ยงเจ้ามาได้
แม่คนเดียวไฉน...จึงปล่อยลำบากหนา
ต้องเร่ร่อนนอนวัดพลัดถิ่นมา
กินน้ำตาต่างข้าวไปวัน..วัน
แลกข้าวแม่แต่ละมื้อ...กับบุหรี่ได้ใหมเล่า
ที่เจ้าเฝ้าเผาพ่นเพลินอย่างสุขสันต์
แลกที่ซุกหัวนอนให้แม่..กับน้ำจันท์
ขอแลกมันกับค่าน้ำนมแม่...ได้ใหมเอย
เพียงแค่นี้...ทำไมทำให้แม่ตัวเองไม่ได้นะ ( ถึงกับน้ำตาไหลเลย...คิดถึงแม่จังเลย )
ขอบคุณภาพประกอบ จากอินเตอร์เน็ตค่ะ
แกจะมีข้าวกินพออิ่มรอดไปวัน ๆ แน่นอน
ยามฉันนอน ฉันก็จะระวังตัว ทั้ง ๆ ที่ไม่มีของมีค่าอะไรติดตัวไป
โทรศัพท์ก็ไม่ได้พกไป จะมีก็แค่สร้อยทองที่คล้องอยู่กับคอ เส้นก็ไม่ใหญ่นัก
สตางค์ที่พกไปพอทำบุญ และใช้หนี้สงฆ์ กับซื้อหนังสือของหลวงพ่อกลับบ้าน
อีกวันถัดมา แกก็มาบอกลา ว่าจะกลับแล้ว จะติดรถไปกับเพื่อนใหม่ ที่แกมารู้จักที่นี่
แกเปลี่ยนจากชุดขาว เป็นชุดธรรมดาเรียบร้อย รอติดรถเพื่อนแกจะไปลงแถว ๆ ลาดพร้าว
คืนวันนั้น ฉันยังเจอแกใส่ชุดขาวอีกครั้ง นอนเอามือก่ายหน้าผากเหมือนเดิน
ฉันไม่ได้ถาม หรือซักไซร้ไล่เรียงอะไรแก แต่กลับรู้สึกสงสารอย่างบอกไม่ถูก
พลันคิดต่อตัวเองว่าในใจว่า...
ทรัพย์สินของฉันเมีเพียงแค่นี้...ฉันก็ยังทำหวงไปได้ ทำให้จิตใจตัวเองกังวลไปเปล่า ๆ
ดูป้าแกไม่ใช่คนมือไว หรือคน 'ขี้ขอ' เลยสักนิด ฉันไม่เคยเห็นแกขอเงินใครสักคนเลย
รุ่งเช้า หลังจากทำวัตรเช้า และทานอาหารเช้าเสร็จ
ฉันจึงนั่งคุยกับป้าใจอย่างเป็นทางการครั้งแรก
' ป้าเป็นคนที่ไหนเหรอคะ'
' ป้าเป็นคนเพชรบูรณ์จ้ะ'
' ป้าไม่มีลูกบ้างเหรอคะ'
' ป้ามีลูกสามคน สองคนน่ะเป็นผู้ชาย โตกันหมดแล้ว คนเล็กเป็นลูกสาว ป้ายกให้คนขับรถตู้ที่รู้จักกันตั้งแต่แปดขวบ'
' แล้วทำไมป้าไม่ไปอยู่กับลูกชายล่ะคะ ทำไมป้าต้องมาร่อนเร่อย่างนี้ด้วย'
ป้าเงียบไปพักหนึ่ง นั่งชันเข่า แล้วกอดเข่าเอาไว้ เหมือนจะหาหลักยึดร่างกายแกเอาไว้
กันมันสั่นไหวโยกไปตามแรงสะอื้น ที่แกพยายามปกปิดฉัน ด้วยการหันหน้าไปทางอื่น
' ป้าไปหามันแล้ว มันไม่ให้ป้าอยู่ด้วย มันบอกว่าเพิ่งโดนไล่ออกจากยามมา ลูกป้าตนนี้มันทำงานไม่ทนร้อก'
' แปลว่าเค้ากำลังตกงานเหรอคะป้า'
' มันได้งานใหม่แล้ว เป็นยามอยู่แถวรังสิต แต่มันไม่ให้ป้าอยู่ด้วย เพราะมันเพิ่งทำงาน มันบอกมันไม่มีปัญญาเลี้ยงป้าน่ะ'
' ดูป้าก็ไม่ใช่คนกินจุซักหน่อยเนาะ แล้วลูกชายป้าอีกคนล่ะ'
' คนนั้นน่ะ มันทำให้ป้าต้องมาร่อนเร่อยู่อย่างนี้ไงล่ะหนู'
' อ้าว...ทำไมเหรอคะ'
' ก็มันน่ะไปหุ้นกะผู้หญิง แล้วผู้หญิงเค้าโกงไปหมดเลย มันก็เลยกลับมาอยู่บ้าน กลับมาก็ไม่ทำอะไรหรอก หาเรื่องทะเลาะกับญาติคนโน้นคนนี้เค้าไปทั่ว ทะเลาะกันจนเค้าตัดไฟบ้านป้าเลย ป้าขอต่อพ่วงไฟจากบ้านเค้ามาน่ะ'
' ทะเลาะกันรุนแรงเลยสิคะ'
' ฮื่อ พอเค้าตัดไฟ ไอ้ลูกป้าก็หนีหายไปอยู่ที่อื่น พอมันไปแล้ว ญาติ ๆ ก็มายืนด่าป้าปาว ๆ ที่หน้าบ้านทุกวัน ว่าเลี้ยงลูกไม่ดี ป้าก็อับอายเค้า แถมมืดลงก็มองอะไรไม่เห็น เพราะเค้าตัดไฟ ป้าก็เลยต้องออกมาร่อนเร่อย่างนี้แหละหนู มันคงเป็นกรรมเวรของป้าเอง ป้าเลี้ยงพวกมันมาตั้งแต่เกิด ไปทำงานก่อสร้างที่ไหน ๆ ก็ต้องหอบกระเตงมันไป ป้ากินอย่างอด ๆ อยาก ๆ เพราะต้องหาให้มันกินจนอิ่มก่อน หาเงินส่งเสียให้พวกมันเรียนจนจบม. 3 พอมันโตทำงานกันได้ ป้าก็ยังต้องอด ๆ อยาก ๆ เหมือนเดิม ไม่รู้นะ ว่าป้าทำกรรมทำเวรอะไรมา'
ฟังถึงตรงนี้ กลับเป็นฉันเองที่ต้องแอบเบือนหน้าหนีแก เช็ดน้ำตาที่ไหลเป็นทางป้อย ๆ ด้วยความสงสาร
เออหนอ...โลกนี้ช่างขาดความยุติธรรมเสียจริง ๆ ทีกับฉันที่อยากจะเลี้ยงดูพ่อใจแทบขาด
สวรรค์ก็แกล้งเอาลมหายใจพ่อของฉันไปดื้อ ๆ ซะอย่างนั้น
แต่กับป้าคนนี้ สวรรค์กลับปล่อยให้แกมีลมหายใจอยู่อย่างทุกข์ทน
ทำไมลูก ๆ ของป้าจึงกลับไม่เหลียวแลเลยสักนิด...
ทำไมพวกเค้าไม่ยินดีกับ โอกาส ที่ได้...โอกาสที่ฉัน หรือใครอีกหลาย ๆ คนต้องการที่จะได้รับ
ทำไมพวกเค้าปฏิเสธ โชคดี ที่พวกเค้ากำลังได้รับ..โชคดี ที่ฉัน หรือใครอีกหลาย ๆ คนก็วาดหวัง
' แล้วป้าจะไปไหนต่อจ๊ะ'
' จริง ๆ ป้าก็อยากทำงาน แต่ไปที่ไหน ๆ เค้าก็ไม่รับ บอกว่าป้าแก่แล้ว
พอดีเพื่อนคนเมื่อวานที่ป้าจะกลับด้วยน่ะ เค้าให้ที่อยู่ไว้ ให้ป้าไปสมัครเป็นแม่บ้านที่ปั๊มน้ำมันเพื่อนเค้าน่ะ'
' ดีจัง แล้วป้าจะไปยังไงล่ะคะ'
' พอดีเมื่อวาน รถเค้าเต็ม วันนี้สาย ๆ ป้าว่าจะออกไปนั่งรถเมล์ไปกรุงเทพน่ะ'
' แล้วป้าไปถูกเหรอคะ'
' ป้าไปมาหมดทั่วประเทศแล้ว ไปไม่ยากร้อก แค่ลาดพร้าว 85 เอง'
' ฮ่ะ ๆ ป้าเก่งกว่าหนูอีกนะเนี่ย หนูยังไปกรุงเทพไม่ค่อยถูกเลย'
ป้าแกส่งเสียงหัวเราะตามฉันพร้อมพูดว่า...
' ถ้าหนูอยากไปไหนบอกป้านะ เดี๋ยวป้าจะพาไป'
ฉันเหลือบมองนาฬิกาที่ข้อมือ จะแปดโมงแล้ว ถึงเวลาปฏิบัติกรรมฐานอีกแล้ว
ฉันจึงขอตัว ก่อนจากกัน ฉันหยุดคิดนิดหนึ่ง ก่อนรูดซิบกระเป๋าใบเล็กที่คล้องคออยู่ ที่แสนจะหวงนักหวงหนาเมื่อคืนก่อน ฉันควักเงินออกมาแล้วยัดใส่มือแก พร้อมพูดว่า
' หนูช่วยป้าพอค่าเดินทาง กับค่าอาหารได้แค่สองวันนะจ๊ะ'
ป้าใจแกยกมือท่วมหัว ปากก็พร่ำคำขอบคุณคำอวยพรต่าง ๆ นา
ฉันมองเห็นใบหน้าป้าที่เปี่ยมสุข...ก่อนฉันหันหลังเดินจากป้าใจมา พร้อมน้ำตาที่เอ่อท่วมท้น...
เงินเพียงน้อยนิด สร้างสุขให้ป้าได้ขนาดนี้เชียวหรือ
แล้วป้าเค้าจะได้งานทำหรือเปล่านะ หากไม่ได้งานทำเพราะเหตุผลเดิม ๆ
ป้าใจแกก็ต้องเดินทางร่อนเร่ไปเรื่อย ๆ เหมือนเดิม...
ชีวิตแก จะต้องเดินทางต่อไปอีกยาวไกลแค่ไหนนะ...
ฉันขอภาวนา ให้ลูก ๆ ของป้าสักคน หยุดการเดินทางของ 'แม่' ของเขาด้วยการเลี้ยงดูด้วยเถอะ
แกต้องการแค่ที่นอน และอาหารเพียงสามมื้อที่ไม่ต้องซื้อหามาด้วยราคาแพง ๆ ...แค่นั้นเอง
ยามเด็กแม่อุ้มชู...เลี้ยงดูเจ้า
แม่ต้องเฝ้ายามเจ้าป่วย ร้องไห้จ้า
ต้องแบกหาม จนบ่าทรุดเลี้ยงเจ้ามา
ทั้งการศึกษาให้แก่เจ้า...อย่างลำเค็ญ
แม่เพียงหวังเห็นเจ้าได้เติบใหญ่
พร้อมกับใจรักแม่ ที่ยากเข็น
ไม่เคยขอสิ่งใดเกินจำเป็น
เพียงทำเช่นแม่เคยทำ...กับเจ้ามา
ลูกหลายคนแม่เลี้ยงเจ้ามาได้
แม่คนเดียวไฉน...จึงปล่อยลำบากหนา
ต้องเร่ร่อนนอนวัดพลัดถิ่นมา
กินน้ำตาต่างข้าวไปวัน..วัน
แลกข้าวแม่แต่ละมื้อ...กับบุหรี่ได้ใหมเล่า
ที่เจ้าเฝ้าเผาพ่นเพลินอย่างสุขสันต์
แลกที่ซุกหัวนอนให้แม่..กับน้ำจันท์
ขอแลกมันกับค่าน้ำนมแม่...ได้ใหมเอย
เพียงแค่นี้...ทำไมทำให้แม่ตัวเองไม่ได้นะ ( ถึงกับน้ำตาไหลเลย...คิดถึงแม่จังเลย )
ขอบคุณภาพประกอบ จากอินเตอร์เน็ตค่ะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)